Skip to content

Next steps toward the self-healing network | การนำไปสู่ขั้นตอนต่อไปของการรักษาระบบ Network ด้วยตัวเอง

การเพิ่มขึ้นของผู้ใช้งาน อุปกรณ์ต่างๆ รูปแบบของอุปกรณ์ที่ต่างกันไป และจำนวนข้อมูลที่วิ่งไปมามหาศาล เป็นการเพิ่มแรงกดดันให้ระบบขององค์กรใหญ่ สรุปง่ายๆ ก็คือระบบ Network ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น จึงเป็นสาเหตุที่ว่าทำไม Ordinary Human หรือบุคคลทั่วไปไม่สามารถที่จะดูแลทั้งระบบได้แบบทั่วถึง เป็นที่มาของ Automation หรือที่เรารู้จักกันดีคือ AI (Artificial Intelligence) ซึ่งเป็นการต่อยอดมาจาก ML (Machine Learning) โดยที่ AI ไปดึงข้อมูลแล้วนั้นมาประมวลผล และจัดการเอาเองได้เลย สิ่งนี้สามารถเข้ามาช่วยผู้คนดูแลระบบที่มีความซับซ้อนมากขึ้น

ผู้ผลิตอุปกรณ์ Network ต่างๆ ได้มีการแข่งขันมากขึ้นในการสร้าง Self-healing network ขึ้นมา เช่นเดียวกันกับ CommScope ก็ได้สร้างการเปลี่ยนครั้งใหญ่โดยการประกาศ Ruckus Analytics เมื่อต้นปีที่ผ่านมา Ruckus Analytics คือ Cloud service ที่โดดเด่นในเรื่องของการวิเคราะห์และการรับประกันระบบ พลังของ ML และ AI ทำงานร่วมกับ Ruckus SmartZone และ Ruckus Cloud ที่เป็นอุปกรณ์ควบคุมและจัดการ Access Points ของ Ruckus การบริการนี้เข้ามาช่วยคุณจัดการ แก้ปัญหาต่างๆที่มาจากอุปกรณ์ของ Ruckus ขณะเดียวกันเป็นการก้าวข้าวไปสู่ Self-healing network ที่คุณต้องการรู้จักมัน

Automatic network service validation—without overlay sensors

IT ต่างๆต้องรู้อย่างแน่นอนว่าระบบ helpdesk หรือการเปิดตั๋วเมื่อมีปัญหามาทาง IT นั้น ค่อนข้างที่จะไม่สำเร็จ และไม่สามารถแก้ปัญหาได้ทันที ต้องรอให้ผู้ใช้งานแจ้งมาก่อน และผู้ใช้งานบางคนเลือกที่จะยังไม่แจ้ง เพราะเค้าเองก็ไม่รู้เช่นกันว่ามันคือปัญหาหรือเปล่า รู้อย่างเดียวคือสิ่งที่เข้ามารบกวนในเวลาทำงานของเขา และแน่นอนผู้ใช้งานไม่สามารถรายงานสิ่งที่ IT ต้องการได้ทั้งหมดเนื่องด้วยข้อจำกัดต่างๆ ต่างกันกับ Ruckus Analytics ที่อนุญาตระบบให้ทำ self-validate หรือการตรวจสอบด้วยตัวของมันเองในระบบที่ให้บริการ ระบบไม่มีความต้องการเซ็นเซอร์ต่างๆเพิ่มเติมในการทำสิ่งนี้ เพราะมันมีอยู่แล้วบน Ruckus Access Points บริการนี้สามารถระบุปัญหาได้ก่อนที่จะเกิดเหตุ เป็นการทำให้ IT ได้รับรู้ และเข้ามาแก้ปัญหาได้ทันเวลา ก่อนที่จะมีผลกระทบกับผู้ใช้งาน

AI-enabled virtual network assistant—just ask Melissa integration 

Virtual assistant หรือผู้ช่วยจำลอง เราจะเจอได้จากการช้อปปิ้งหรือการช่วยเหลือลูกค้าแบบออนไลน์ ขณะนี้ Ruckus Analytics ก็มี Melissa ซึ่งเป็น AI ปัญญาประดิษฐ์ของ Ruckus ที่จะเข้ามาช่วยเต็มเติม และช่วยเหลือ IT ได้อย่างเติมรูปแบบ มันสามารถตอบคุณได้ถ้าคุณถามว่าระบบตอนนี้เป็นอย่างไร Melissa ใช้ภาษาได้เป็นอย่างธรรมชาติสามารถโต้ตอบคุณได้อย่างมีหลักการ ผู้ช่วยระบบจำลองนี้จะเข้ามาช่วยองค์กรของคุณทำทุกอย่างให้ง่ายและรวดเร็วที่จะหาข้อมูลที่คุณต้องการอย่างมีประสิทธิภา

IT service management (ITSM) integration

ถ้าผู้ใช้งานไม่ได้เปิดเคสมาทาง Service ticket นั้นจะไม่มีรายงานมาที่แผนก IT ว่ามีปัญหาเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม Ruckus Analytics จะเข้ามาช่วยเหลือได้อย่างทันที Ruckus Analytics สามารถที่จะทำงานร่วมกับ IT service management (helpdesk ticketing) ที่มีชื่อเสียง โดยการทำ Webhooks แบบอัตโนมัติไปยังระบบ helpdesk tickets เมื่อ Ruckus Analytics สามารถระบุปัญหาที่กำลังเกิดขึ้นได้ โดยไม่จำเป็นต้องให้ผู้ใช้งานเปิด ticket เข้ามา ระบบที่ Ruckus analytics สามารถทำงานได้ด้วยคือ ServiceNow, Salesforce และ ITSM platform ต่างๆ เป็นต้น IT สามารถหาทางแก้ปัญหา โดยจะได้รับ Root causes ร่วมไปถึงขั้นตอนการแก้ปัญหา

Two-tiered management structure—service providers log in only once

สิ่งนี้เป็นสิ่งที่แปลกใหม่ และพิเศษสำหรับ Ruckus networking solution providers ร่วมถึง managed service provider (MSPs) ลูกค้าหลายๆรายของ Ruckus networking solution provider และ MSPs สามารถอยู่ภายใต้ Ruckus Analytics เพียงบัญชีเดียวเท่านั้น ไม่จำเป็นต้อง log out และ log in เข้าไปใหม่ ลดความยุ่งยากในการจัดการ สามารถจัดการได้เลยทันทีภายใต้ log in เดียว สิ่งนี้คือ Value preposition ที่จะมาสร้างความแข็งแกร่งได้อย่างมั่นคง

Toward a self-healing network

IT ต่างๆต้องรู้อย่างแน่นอนว่าระบบ helpdesk หรือการเปิดตั๋วเมื่อมีปัญหามาทาง IT นั้น ค่อนข้างที่จะไม่สำเร็จ และไม่สามารถแก้ปัญหาได้ทันที ต้องรอให้ผู้ใช้งานแจ้งมาก่อน และผู้ใช้งานบางคนเลือกที่จะยังไม่แจ้ง เพราะเค้าเองก็ไม่รู้เช่นกันว่ามันคือปัญหาหรือเปล่า รู้อย่างเดียวคือสิ่งที่เข้ามารบกวนในเวลาทำงานของเขา และแน่นอนผู้ใช้งานไม่สามารถรายงานสิ่งที่ IT ต้องการได้ทั้งหมดเนื่องด้วยข้อจำกัดต่างๆ ต่างกันกับ Ruckus Analytics ที่อนุญาตระบบให้ทำ self-validate หรือการตรวจสอบด้วยตัวของมันเองในระบบที่ให้บริการ ระบบไม่มีความต้องการเซ็นเซอร์ต่างๆเพิ่มเติมในการทำสิ่งนี้ เพราะมันมีอยู่แล้วบน Ruckus Access Points บริการนี้สามารถระบุปัญหาได้ก่อนที่จะเกิดเหตุ เป็นการทำให้ IT ได้รับรู้ และเข้ามาแก้ปัญหาได้ทันเวลา ก่อนที่จะมีผลกระทบกับผู้ใช้งาน


ทดลองใช้  RUCKUS Analytics ฟรี สามารถเข้าดูเพิ่มเติมได้ที่นี่
https://www.commscope.com/ruckus-analytics-trial/

ขอขอบคุณแหล่งที่มาข่าวจาก CommScope Ruckus

สนใจผลิตภัณฑ์เรามีพันธมิตรพร้อมให้คำปรึกษา ติดต่อแผนก Marketing

โทร : 02-2479898 ต่อ 87 

Email : [email protected]

SHARE TO:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on linkedin
LinkedIn
Share on email
Email