Skip to content

WatchGuard Outdoor Access Point

โซลูชั่นเครือข่ายไร้สาย 802.11ac Wave 2 สำหรับติดตั้งนอกอาคาร รองรับการใช้งานที่หนาแน่น

WatchGuard Outdoor AccessPoint โซลูชั่นเครือข่ายไร้สายสำหรับติดตั้งนอกอาคารมาตรฐานกันน้ำกันฝุ่นระดับสูง ความเร็วไวไฟสูงสุด 1.3Gbps มาตรฐานไวไฟ 802.11ac Wave 2 ความเร็ว 867Mbps บนความถี่ 5GHz และ 400Mbps บนความถี่ 2.4GHz เหมาะสำหรับสำนักงาน โรงแรม รีสอร์ท ในการปล่อยไวไฟความเร็วสูงและรองรับผู้ใช้งานที่หนาแน่น เช่นห้องโรงอาหาร สนามกีฬาและโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย WatchGuard Outdoor Access Point AP327X ยังมาพร้อมกับคุณสมบัติ Wireless Intrusion Prevention (WIPS) ซึ่งสามารถตรวจจับภัยคุกคามบนระบบ WiFi ไม่ว่าจะเป็น Rogue Access Points, Rogue Client, Adhoc Network, Evil Twin Access Point และอื่นๆ ได้ ที่สำคัญคือสามารถหยุดยั้งภัยคุกคามเหล่านี้ได้ด้วยเช่นกัน ทำให้มั่นใจว่าพนักงานภายในองค์กรสามารถใช้ระบบ WiFi ได้อย่างมีประสิทธิภาพในขณะที่ยังคงไว้ซึ่งความมั่นคงปลอดภัย และยังมาพร้อมกับคุณสมบัติในการทำ Guest WiFi Access และ Social Login ร่วมกับ Facebook, Twitter, LinkedIn และ Instagram ช่วยให้แขกและผู้มาเยี่ยมเยือนสามารถใช้งาน WiFi ได้ง่ายในขณะที่ยังคงสามารถเก็บ Log ได้ตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ นอกจากนี้ยังสามารถทำ Location-based Analytics เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้ใช้จากการใช้ WiFi เพื่อวางแผนเพิ่ม Customer Experience ให้ดียิ่งขึ้นได้อีกด้วย รองรับการใช้งาน 3 รูปแบบ คือ
    • บริหารจัดการผ่าน WatchGuad FireBox ซึ่งทำหน้าที่เป็น Wireless Controller ในการควบคุมการทำงานของ Access Point
    • บริหารจัดการจากศูนย์กลางผ่านระบบ Cloud โดยไม่จำเป็นต้องมี Wireless Controller ซึ่ง Access Point สามารถให้บริการ WiFi และ WIPS ได้ในเวลาเดียวกัน
    • ใช้งานร่วมกับระบบ WiFi ที่มีอยู่เดิมภายในองค์กรโดยทำหน้าที่เป็น Air Monitor ให้บริการ WIPS สำหรับตรวจจับและป้องกันภัยคุกคามที่มาทางระบบเครือข่ายไร้สาย

WatchGuard Outdoor Access Point

IP67-rated enclosure, dual radio, 2×2:2 MU-MIMO, 802.11ac Wave 2 support4 N-Type connectors, 2 GbE ports, full operational capacity with 802.3at PoE+

บทความที่คุณอาจสนใจ

6 ฟีเจอร์หลักที่ทำให้เราต้องมี Firewall เพื่อป้องกันภัยไซเบอร์บนโลกยุคใหม่

ในโลกยุคใหม่ที่การเชื่อมต่อจำเป็นต่อการทำงานและชีวิตประจำวัน พบว่าภัยทางไซเบอร์ต่างๆก็แฝงตัวและพร้อมซุ่มโจมตีเวลาที่เราเผลอและไม่ระวัง การโจมตีเกิดขึ้นกับหน่วยงานหรือบริษัทในหลายรูปแบบ เช่น Viruses, Backdoors, Denial of Service (DoS) Attacks, Macros, Remote Logins, Phishing emails, Social Engineering หรือแม้กระทั่ง Spam ต่างๆ ทั้งนี้เครื่องมือสำคัญที่ใช้เพื่อป้องกันภัยดังกล่าว ได้แก่ “Firewall” นั่นเอง Firewall คืออะไร Firewall คืออุปกรณ์รักษาความปลอดภัยบนเครือข่ายที่กั้นป้องกันระหว่างเครือข่ายภายในและภายนอก อยู่ในรูปแบบที่เป็น
Read More

Ransomware โจมตีหนักหน่วง บริษัทใหญ่เล็ก มีสิทธิโดนกันหมด

ภัยทางไซเบอร์ที่เกิดขึ้นกับบริษัทใหญ่ๆที่ผ่านมา จะถูกสร้างข่าวและทำให้ผู้คนแตกตื่นด้วยการเรียกร้องค่าไถ่จำนวนมากเพื่อปลดล็อกข้อมูลหลังจากที่โดน Ransomware เข้ามาโจมตี ทว่าในช่วงหลังจะพบการโจมตีเป้าหมายที่เล็กลง เป็นบริษัทขนาดกลางหรือเล็กซึ่งอาจเป็นองค์กรของคุณที่เป็นเป้าหมายก็เป็นไปได้ เพราะต้องยอมรับว่า การเรียกค่าไถ่หลังจากเหยื่อถูกเจาะด้วย Ransomware แล้ว องค์กรเล็กๆ จะถูกเรียกค่าไถ่ด้วยมูลค่าต่อครั้งที่ไม่สูงมาก เท่าที่สำรวจจะพบว่าอยู่ประมาณ 50,000 USD (หรือประมาณ 1,500,000 บาท) ซึ่งเป็นจำนวนเงินที่อาชญกรรมบนโลกปกติทำกับเหยื่อเช่นกัน เรายังพบอีกว่า การเรียกเงินครั้งละไม่มาก แต่มีจำนวนคนพร้อมจ่ายมากขึ้น ง่ายกว่าการเรียกเงินคราวละหลายๆ ล้านจากธนาคารเสียอีก จะว่าไปโจรที่ใช้ Ransomware ในการเรียกค่าไถ่ ถึงแม้ว่าจะใช้เครื่องมือที่ทันสมัย เทคนิคที่แยบยล แต่การทำงานหรือเลือกเป้าหมายก็ยังคงเป็นวิธีการเดิมๆอยู่
Read More

เพราะอะไร WatchGuard MFA จึงเหมาะกับ SME ในการใช้เป็นเครื่องมือช่วยงานด้านการจัดการ Password

User ที่บริษัทเรายังคงใช้ Password ที่สามารถเดาได้ เช่นชื่อเล่น ชื่อสัตว์เลี้ยง วันเกิด asdfjkl; อยู่หรือเปล่า หรือ User เรายังคงใช้ Password ที่ง่ายๆ สั้นๆ เนื่องจากมองว่าอยากให้ตัวเองจำได้ ไม่ลืม นั่นเป็นสาเหตุบางส่วนทึ่ก่อให้เกิดปัญหากับทีมไอทีอย่างพวกเรา โดย User ที่มีพฤติกรรมเหล่านี้ ล้วนแล้วแต่จะเป็นจุดอ่อน หรือช่องโหว่สำคัญจากผลของการเลือกถูกโจมตึด้วยภัยทางไซเบอร์ ซึ่งเชื่อได้ว่าสาเหตุต่างๆ สอดคล้องกับผลการสำรวจของ Pulse ซึ่งระบุไว้เช่นกันว่า User โดยทั่วไปเน้นการใช้ Password
Read More

Wi-Fi Router/AP รูรั่วจุดเสี่ยงของการโจมตีโดยแฮกเกอร์ตอนนี้

พบการเพิ่มขึ้นของอุปกรณ์รวมไปถึงความหลากหลายของอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตโดยเฉพาะอุปกรณ์ไร้สาย ที่เชื่อมกับ Wi-Fi Router หรือ Wi-Fi AP  ซึ่งแน่นอนมีประโยชน์ต่อการทำงานมหาศาล แต่ก็นั่นแหละ โจรไซเบอร์ก็ใช้ช่องโหว่ จากการที่อุปกรณ์ไร้สายมีการใช้มากขึ้น โดยอุปกรณ์ไอทีเหล่านั้น เป็นเป้าหมายหลักสำหรับมัลแวร์ รวมถึงแรนซัมแวร์ และภัยคุกคามอื่นๆ ทั้งนี้จากรายงานล่าสุด พบการโจมตีผ่านสิ่งที่เรียกว่า “ZuoRAT” ซึ่งมีเป้าหมายหลักของการโจมตีอยู่ที่เราเตอร์ หรือ AP ของบริษัท SMEs รวมไปถึงเราเตอร์ที่ใช้ตามบ้าน โดยมัลแวร์ดังกล่าวทำงานด้วยวิธีการดังนี้ ขั้นแรก ไฟล์ MIPS ที่คอมไพล์แล้วจะถูกส่งไปยังเราเตอร์ โดยไฟล์นี้เป็นมัลแวร์ที่ชื่อ
Read More

สินค้าที่ใช้ร่วมกันหรือทดแทนกันได้